รายชื่อบทความงานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 15
(มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม)
ระหว่างวันที่ 13 – 14 กรกฎาคม 2566
ณ โรงแรม ไมด้า แกรนด์ ทวารวดี นครปฐม จังหวัดนครปฐม
สาขา คอมพิวเตอร์ศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

แสดงบทคัดย่อ
 ชื่อบทความภาษาไทย การพัฒนาบทเรียนออนไลน์เพี่อนำไปจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 1
 ชื่อบทความภาษาอังกฤษ (Title) Developing online lessons for blended learning management Technology (Computational Science) for Mathayomsuksa 1 students at Banharn Jamsai Wittaya School 1
 ชื่อผู้เขียนภาษาไทย (Authors TH) นายธีรนัย พั่วพวง ,
 ชื่อผู้เขียนภาษาอังกฤษ (Authors EN) Theeranai Puopung ,
 บทคัดย่อภาษาไทย
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อการพัฒนาบทเรียนออนไลน์เพี่อนำไปจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 2) เพื่อประเมินคุณภาพของบทเรียนออนไลน์โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคเพื่อนคู่คิด รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเนื้อหา และด้านเทคนิคการสร้างสื่อการสอน จำนวน 3 ท่าน  โดยใช้วิธีเลือกแบบตามเกณฑ์คุณสมบัติที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) บทเรียนอออนไลน์
โดยใช้การเรียนรู้แบบผสมผสาน รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 1 2) แบบประเมินคุณภาพด้านเนื้อหา และ 3) แบบประเมินคุณภาพด้านเทคนิคการสร้างสื่อการสอน โดยใช้การเรียนรู้แบบผสมผสาน รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน
             ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียนออนไลน์โดยใช้การเรียนรู้แบบผสมผสาน รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)
ที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วยเนื้อหา 3 หน่วยการเรียนรู้ ได้แก่ เทคโนโลยีการสื่อสาร แนวคิดเชิงคำนวณ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2) ผลประเมินคุณภาพของบทเรียนออนไลน์โดยใช้การเรียนรู้แบบผสมผสาน รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) พบว่า มีคุณภาพด้านเนื้อหาโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (= 4.77, S.D.= 0.19) และมีคุณภาพด้านเทคนิค
การพัฒนาบทเรียนออนไลน์เพี่อนำไปจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) โดยรวม
อยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.74, S.D. =0.25)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อการพัฒนาบทเรียนออนไลน์เพี่อนำไปจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 2) เพื่อประเมินคุณภาพของบทเรียนออนไลน์โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคเพื่อนคู่คิด รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเนื้อหา และด้านเทคนิคการสร้างสื่อการสอน จำนวน 3 ท่าน  โดยใช้วิธีเลือกแบบตามเกณฑ์คุณสมบัติที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) บทเรียนอออนไลน์
โดยใช้การเรียนรู้แบบผสมผสาน รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 1 2) แบบประเมินคุณภาพด้านเนื้อหา และ 3) แบบประเมินคุณภาพด้านเทคนิคการสร้างสื่อการสอน โดยใช้การเรียนรู้แบบผสมผสาน รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน
             ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียนออนไลน์โดยใช้การเรียนรู้แบบผสมผสาน รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)
ที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วยเนื้อหา 3 หน่วยการเรียนรู้ ได้แก่ เทคโนโลยีการสื่อสาร แนวคิดเชิงคำนวณ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2) ผลประเมินคุณภาพของบทเรียนออนไลน์โดยใช้การเรียนรู้แบบผสมผสาน รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) พบว่า มีคุณภาพด้านเนื้อหาโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (= 4.77, S.D.= 0.19) และมีคุณภาพด้านเทคนิค
การพัฒนาบทเรียนออนไลน์เพี่อนำไปจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) โดยรวม
อยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.74, S.D. =0.25)
 คำสำคัญภาษาไทย วิทยาการคำนวณ,การเรียนรู้แบผสมผสาน,บทเรียนออนไลน์
 Abstract
The purposes of this research were as follows: 1) To develop the online lessons using blended learning on Computational Science for Grade 7 students, 2) to determine the efficiency of the online lessons using cooperative learning with think-pair-share on Computational Science for Grade 7 students. The sample group used in this research were 3 experts on the content and the techniques of creating the online lessons selected according to the specified qualification criteria. The tools used in the research were as follows: 1) The online lessons using blended learning on Computational Science for Grade 7 students at Banharn Jamsai Wittaya School 1, 2) the contents’ quality assessment tests, and 3) the quality of the online lessons’ creation techniques using blended learning on Computational Science for Grade 7 students. The used statistics were mean and deviation.
The results of this research were as follows: 1) The developed online lessons using blended learning on Computational Science consisted of 3 learning units which were communication technology, computational thinking, and using technology efficiently, 2) the study of the quality assessment result found that the overall quality of the content was at the highest level (= 4.77, S.D.=0.19) and the overall quality of the development techniques of the online lessons using blended learning on Computational Science was at the highest level  (=4.74, S.D. =0.25).
 Keyword computational science,blended learning,online lesson
 กลุ่มของบทความ คอมพิวเตอร์ศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
 รูปแบบการนำเสนอ Oral
 รูปแบบของบทความ บทความวิจัย
Publication date 13 - 14 กรกฎาคม 2566 ณ โรงแรม ไมด้า แกรนด์ ทวารวดี นครปฐม