รายชื่อบทความงานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 15 (มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม) ระหว่างวันที่ 13 – 14 กรกฎาคม 2566 ณ โรงแรม ไมด้า แกรนด์ ทวารวดี นครปฐม จังหวัดนครปฐมสาขา English Language Studies
ชื่อบทความภาษาไทย |
การศึกษาประสบการณ์ฺการบลูลี่ของนักศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย |
ชื่อบทความภาษาอังกฤษ (Title) |
bullying: how university students experience bullying in their classroom |
ชื่อผู้เขียนภาษาไทย
(Authors TH) |
อ.ธิติ นวพันธ์ , อ.ขวัญชนก หนูสง, อ.พิเชษฐ์ สัจจาวานิช, อ.จริยาภรณ์ ตาปิน, นายสรวิชญ์ ดอนมะไพร, |
ชื่อผู้เขียนภาษาอังกฤษ (Authors EN)
|
Thiti Nawapan ,
Kwanchanok Nusok,
Pichet Satwinit,
Jariyaporn Tapin,
Sorrawit Donmaphai, |
บทคัดย่อภาษาไทย |
การศึกษาเชิงคุณภาพชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์เกี่ยวกับการบลูลี่ของนักศึกษาชั้นอุดมศึกษา ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์นักศึกษามหาวิทยาลัยจำนวน 6 คน โดยใช้กรอบแนวของ Olweus [10] และ Mulukและคณะ [8] คณะผู้วิจัยได้ทำการถอดความและประมวลข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์แก่นสาระ (thematic analysis) ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 หัวข้อ คือ I am not a rotten dog I am not a joker และ I don't understand why teachers bully me ผลการวิจัยพบว่า ยังคงมีการบลูลี่ในระดับชั้นอุดมศึกษา ซึ่งผู้เข้าร่วมวิจัยได้อธิบายถึงประสบการณ์ที่พบเจอ โดยเฉพาะในชั้นเรียน มักจะพบการบลูลี่แบบ Social/emotional มากที่สุดและส่งผลกระทบต่อแรงจูงใจในการเรียนรู้ในชั้นเรียนของนักศึกษา การวิจัยชิ้นแสดงว่า การจัดการชั้นเรียนของครูมีผลอย่างยิ่งต่อการลดจำนวนการบลูลี่ในชั้นเรียน ดังนั้น ครูต้องแสดงบทบาททั้งการเรียนการสอนและผู้ให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาเกี่ยวกับการบลูลี่
|
|
คำสำคัญภาษาไทย |
การบลูลี่,แรงจูงใจในการเรียนรู้,ประสบการณ์ของนักศึกษาชั้นอุดมศึกษา |
Abstract |
The current qualitative study aims to study bullying experiences among university students. The researchers interviewed six university students. Following a conceptual framework from Olweus [10] and Muluk et al. [8], the researchers transcribe the interviews and code the data following thematic analysis. Three themes emerged; I am not a rotten dog, I am not a joker, and I don’t understand why teachers bully me. The result shows that bullying has remained in higher education. All participants revealed that they experience bullying, especially in the classroom. Social/emotional bullying has become the most frequent type of bullying, and it has the power to disrupt the students' motivation to learn in the classroom. The study implies that the teacher's classroom management can play a critical role in decreasing the number of bullying. Therefore, the teachers must play a teaching role and a consultant for the students to listen to the students toward bullying.
|
Keyword |
bullying ,a motivation to learn,an experience among university students |
กลุ่มของบทความ |
English Language Studies |
รูปแบบการนำเสนอ |
Oral |
รูปแบบของบทความ |
บทความวิจัย |
Publication date |
13 - 14 กรกฎาคม 2566 ณ โรงแรม ไมด้า แกรนด์ ทวารวดี นครปฐม |
|
|