รายชื่อบทความงานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 14 (มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม) ระหว่างวันที่ 7 – 8 กรกฎาคม 2565 รูปแบบออนไลน์สาขา การวิจัยเชิงสุขภาพ สร้างดุลยภาพชีวิตในยุค Next Normal (พยาบาล)
ชื่อบทความภาษาไทย |
นวัตกรรมอุปกรณ์ช่วยพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วย |
ชื่อบทความภาษาอังกฤษ (Title) |
Innovative equipment to help turning patient |
ชื่อผู้เขียนภาษาไทย
(Authors TH) |
นางสาวสุรัตนา ฤทธิ์นอก , นางสาวศศิพิมพ์ มงคล, นางสาวณัฐรดา บุญนิมิตร์, นางสาวธันย์ชนก อุ่นใจ , นางสาวพรสรรค์ ตูวิเชียร, นางสาวมณิสรา ทองก้อน , นางสาวอินทุอร บุญอาษา , นางสาวชรินรัตน์ ร่มจันทร์ , |
ชื่อผู้เขียนภาษาอังกฤษ (Authors EN)
|
Suratana Ritnok,
Sasipim Mongkol,
Natrada Bunnimit,
Thanchanok Aunjai,
Pornsawan Tuwichian,
Manisara Tongkon,
Inthuon Boonarsa,
Charinrat Romchan , |
บทคัดย่อภาษาไทย |
วิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนา หาค่าข้อมูลส่วนบุคคล วิเคราะห์ด้วยสถิติ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย และข้อมูลความพึงพอใจในนวัตกรรมวิเคราะห์โดยใช้สถิติค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพของนวัตกรรมเลือกจากผู้ช่วยเหลือ/ญาติผู้ป่วย ผู้ป่วยอายุรกรรมชายโรงพยาบาลพระจอมเกล้าจังหวัดเพชรบุรีจำนวน 30 คน ผลการศึกษาพบว่า 1) การใช้นวัตกรรมอุปกรณ์พลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยมีประสิทธิภาพต่อการพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยที่มีแผลกดทับ 2) ผู้ป่วยและญาติมีความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรมอุปกรณ์ช่วยพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยอยู่ในระดับดีมาก
ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า การใช้นวัตกรรมอุปกรณ์ช่วยพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยมีประสิทธิภาพต่อการพลิกตะแคงตัวของผู้ป่วยที่มีแผลกดทับ ผู้ป่วยและญาติมีความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรม โดยมีข้อเสนอแนะว่า 1) ควรมีการศึกษาความ
พึงพอใจของบุคลากรทางการพยาบาลต่อการใช้นวัตกรรมอุปกรณ์ช่วยพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วย 2) เนื่องจากระยะเวลาในการเก็บข้อมูลค่อนข้างจํากัด ดังนั้นในการศึกษาครั้งต่อไปควรเพิ่มจำนวนของกลุ่มตัวอย่าง และระยะเวลาในการศึกษาให้มากขึ้น
|
|
คำสำคัญภาษาไทย |
แผลกดทับ ,นวัตกรรมพลิกตะแคงตัว ,ผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อแผลกดทับ |
Abstract |
Pressure ulcers are the cause of a number of complications in patients with limited mobility. This experimental research The objectives were to 1) develop an innovative flip-up device in patients who are unable to support themselves; 2) to test the effectiveness of the innovative flip-up device in patients. The questionnaire was asked about the satisfaction of using the innovation of patients and their relatives. and to study the effectiveness of using innovative lumbar support devices in patients The tools used in this research consisted of body flipping device and leg flipping device The tools used for data collection were 1) a general data record form, age, sex, duration of illness, and 2) patient and relative satisfaction assessment form.
analyzed by descriptive statistics find personal information Statistical analysis, percentage and mean, and innovation satisfaction data were analyzed using mean and standard deviation statistics. The sample group used to assess the effectiveness of the innovation was selected from the helper/relative of the patient. There were 30 male internal medicine patients at King Mongkut's Hospital, Phetchaburi Province. The results showed that 1) the use of innovative side-turning devices was effective for turning on the side of patients with pressure ulcers 2) the patients and their relatives had Satisfaction with the use of the innovative side-turn assist device in patients was at a very high level.
These findings provide the effectiveness of innovative equipment to help turning pressure ulcer patients. Patients and relatives are satisfied with the innovative equipment. Future study should be 1) study on the healthcare providers’ satisfaction to an innovative to help turning patient and 2) increase more samples and longer study periods.
|
Keyword |
pressure ulcer,innovative equipment,Patients at risk of pressure ulcers |
กลุ่มของบทความ |
การวิจัยเชิงสุขภาพ สร้างดุลยภาพชีวิตในยุค Next Normal (พยาบาล) |
รูปแบบการนำเสนอ |
Oral |
รูปแบบของบทความ |
บทความวิชาการ |
Publication date |
7 - 8 กรกฎาคม 2565 |
|
|