รายชื่อบทความงานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 14 (มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม) ระหว่างวันที่ 7 – 8 กรกฎาคม 2565 รูปแบบออนไลน์สาขา สาธารณสุข สุขภาวะชุมชน และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ชื่อบทความภาษาไทย |
ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ และการใช้ฟ้าทะลายโจรในการดูแลสุขภาพ ในช่วงCOVID –19 ของบุคลากรสายสนับสนุน ในมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี |
ชื่อบทความภาษาอังกฤษ (Title) |
Relationship of knowledge, attitude with use of Andrographis paniculata in health care During COVID-19 of support personnel in Surat Thani Rajabhat University |
ชื่อผู้เขียนภาษาไทย
(Authors TH) |
นางสาวศิรินทร์ฉาย ท้าวฉาย , นางสาวอมรรัตน์ ชุมรอด, นางสาวศรัณย์ภัทร เรืองนาม, นางคันธรส สุขกุล, |
ชื่อผู้เขียนภาษาอังกฤษ (Authors EN)
|
Sirinchay Thawchay ,
Amonrat Chumrod,
Saranphat Reangnam,
Kantarote Sukkul, |
บทคัดย่อภาษาไทย |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1.) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ฟ้าทะลายโจรในการดูแลสุขภาพในช่วง Covid-19 ของ บุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี 2.) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของความรู้ ทัศนคติ กับการใช้ฟ้าทะลาย โจรในการดูแลสุขภาพในช่วง Covid-19 ของบุคลากร สายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบ การสุ่มอย่างง่ายกำหนดขนาดกลุ่ม ตัวอย่างโดยใช้ คำนวณจากสูตร Taro Yamane ซึ่งได้กลุ่มตัวอย่างรวมทั้งสิ้น 200 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และสถิติไควสแควร์ กาหนดระดับ นัยสำคัญ 0.05
ผลการวิจัยพบว่า
จากการศึกษา ความสัมพันธร์ ระหว่างความรู้ ทัศนคติ และการใช้ฟ้าทะลายโจรในการดูแลสุขภาพ ในช่วงCovid-19โดยศึกษาบุคลากรในมหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานีพบว่าความรู้มีความสัมพันธ์กับการใช้ฟ้าทะลายโจรในช่วง สถานการณ์โรคระบาดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ เนื่องด้วยทัศนคติไม่มีความสัมพันธ์ กับการใช้ฟ้าทะลายโจรในช่วงสถานการณโรคระบาดอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติระดับ0.05(p>0.05)แสดงว่าตัวแปรที่มี ความสัมพันธ์กับการใช้ฟ้าทะลายโจรจะมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05 (p < 0.05)
|
|
คำสำคัญภาษาไทย |
คำสำคัญ : ความรู้,ทัศนคติ,พฤติกรรมการใช้ฟ้าทะลายโจร |
Abstract |
Abstract
The objectives of this research were 1.) to study the behavior of using Andrographis paniculata in health care during the Covid-19 period of support personnel in Surat Thani Rajabhat University 2.) to study the relationship of knowledge, attitudes and use of Andrographis paniculata. Thieves in health care during Covid-19 of support personnel in Surat Thani Rajabhat University The sample group consisted of support personnel in Surat Thani Rajabhat University obtained by random method A simple random sampling was determined using the Taro Yamane formula, which received a total sample of 200 people. The research instruments were questionnaires and statistical data were used for statistical analysis of frequency, mean, percentage and KwaiSquare Statistics Determine the level of significance 0.05.
The results showed that
From the study of the relationship between knowledge, attitude and the use of Andrographis
paniculata in health care during Covid-19 by studying personnel at Surat Thani Rajabhat University. It was found that the knowledge was statistically related to the use of paniculata during the epidemic situation. 0.05 which conforms to hypothesis set since there was no statistically significant correlation with the use of Andrographis paniculata in the epidemic situation at the 0.05 level (p>0.05), indicating that the variables were related.The use of Andrographis paniculata was statistically significant at the 0.05 level (p < 0.05).
|
Keyword |
The behavior of using thieves paniculat,knowledge, attitude |
กลุ่มของบทความ |
สาธารณสุข สุขภาวะชุมชน และอนามัยสิ่งแวดล้อม |
รูปแบบการนำเสนอ |
Oral |
รูปแบบของบทความ |
บทความวิจัย |
Publication date |
7 - 8 กรกฎาคม 2565 |
|
|