บทความงานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 12 (มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม)
ระหว่างวันที่ 9 – 10 กรกฎาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม


แสดงบทคัดย่อ
 ชื่อบทความภาษาไทย การเปรียบเทียบความเชื่อเครื่องรางของคนไทย และคนญี่ปุ่น: ประเภทและวิธีใช้
 ชื่อบทความภาษาอังกฤษ (Title) Japanese Studies, Comparative culture between Thailand and Japan, Thai and Japanese Amulets
 ชื่อผู้เขียนบทความ (Authors) นายสุพรชัย ปิยะรัตน์วนกุล ,
 บทคัดย่อภาษาไทย
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความเชื่อเครื่องรางของคนไทย และคนญี่ปุ่นในด้านประเภทและวิธีใช้ ผลการศึกษาพบว่าเครื่องรางของคนไทย สามารถแบ่งได้ 6 ประเภท โดยใช้เกณฑ์วิธีใช้เครื่องราง (How to hold) คือ 1.เครื่องคล้อง เครื่องผูก เครื่องคาด 2.เครื่องฝัง 3.เครื่องอม 4.เครื่องทา 5.เครื่องถือ และศาสตราวุธ 6.พระเครื่อง และพระพิมพ์ แต่เครื่องรางของคนญี่ปุ่น สามารถแบ่งได้ 5 ประเภท โดยใช้เกณฑ์สรรพคุณ (Intended Function) คือ1.เสริมดวง 2.ขอให้สมหวัง 3.ล้างซวย 4.ไล่ปิศาจ 5.ขจัดภัยพิบัติ เครื่องรางของญี่ปุ่นเกือบทุกชนิดมีวิธีใช้โดยการใส่กระเป๋าแล้วถือติดตัวแทบทั้งสิ้น
 คำสำคัญภาษาไทย ญี่ปุ่นศึกษา, วัฒนธรรมเปรียบเทียบไทย - ญี่ปุ่น, เครื่องรางไทย - เครื่องรางญี่ปุ่น
 Abstract This article aims to demonstrate the comparative study between Thai’ s amulets and Japanese’s: types and how to hold. The study revealed that Thai’ s amulets can be classified into 6 types, 1. Wearing as a pendant 2. Embedding under the skin 3. Putting it in one’s mouth 4. Apply to the skin 5. Edged tool 6. Buddha Images and Terracotta Votive Tablets. But Japanese’s ones can be classified into 5 types, 1. Better fortune 2. Eliminate danger 3. Remove misfortune 4. Banish the devil 5. Fulfill one's hope. Almost of Japanese amulets are usually held by putting them in users’ bag and carrying it with.
 Keyword Japanese Studies, Comparative culture between Thailand and Japan, Thai and Japanese Amulets
 กลุ่มของบทความ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
 รูปแบบการนำเสนอ Oral
 รูปแบบของบทความ บทความวิชาการ
Publication date 9 - 10 กรกฎาคม 2563