บทความงานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 12 (มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม) ระหว่างวันที่ 9 – 10 กรกฎาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ชื่อบทความภาษาไทย |
การวิเคราะห์ข้อสอบรายวิชาวิทยาการระบาด หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน และสาขาทันตสธารณสุข |
ชื่อบทความภาษาอังกฤษ (Title) |
Analysis of Epidemiology Test for Bachelor of Public Health Program in Community Public Health and Dental Public Health |
ชื่อผู้เขียนบทความ (Authors) |
นางรัชนี มหาชัยพงศ์กุล, นางอรพินธุ์ เพียรรุ่งเรือง , |
บทคัดย่อภาษาไทย |
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เเพื่อหาคุณภาพของข้อสอบ และเปรียบเทียบคะแนนสอบรายวิชาวิทยาการระบาด ระหว่างนักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน และสาขาทันตสาธารณสุข กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาของหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุข และสาขาทันตสาธารณสุข จำนวน 91 คน ปีการศึกษา 2562 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ข้อสอบกลางภาค 80 ข้อ ข้อสอบปลายภาค 60 ข้อ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าดัชนีความยาก/ง่ายของข้อสอบ ค่าอำนาจจำแนก (point-biserial correlation) ความเที่ยงตรงของคะแนนสอบ ความคงที่ภายใน (KR-20) ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ T-test ผลการวิจัยพบว่า การวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบในด้านค่าดัชนีความยาก/ง่ายของข้อสอบ ค่าอำนาจจำแนก ข้อสอบกลางภาคและข้อสอบปลายภาค ของสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชนและสาขาทันตสาธารณสุขสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน แต่ความเที่ยงตรงของคะแนนสอบ (internal consistency reliability) และค่าความคงที่ภายใน Kuder-Richardson Reliability Kuder-Richardson (KR-20) สอดคล้องกันเฉพาะข้อสอบปลายภาค คะแนนสอบทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติของนักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน มีค่าเฉลี่ยสูงกว่านักศึกษาสาขาทันตสาธารณสุข คะแนนสอบเฉลี่ยภาคปฏิบัติของสาขาวิชา สาธารณสุขชุมชน แตกต่างกับคะแนนสอบเฉลี่ยนักศึกษาสาขาทันตสาธารณสุข อย่างมีนัยสำคัญมี่ 0.05
คำสำคัญ: ข้อสอบ คุณภาพข้อสอบ วิชาวิทยาการระบาด สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน สาขาทันตสาธารณสุข
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เเพื่อหาคุณภาพของข้อสอบ และเปรียบเทียบคะแนนสอบรายวิชาวิทยาการระบาด ระหว่างนักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน และสาขาทันตสาธารณสุข กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาของหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุข และสาขาทันตสาธารณสุข จำนวน 91 คน ปีการศึกษา 2562 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ข้อสอบกลางภาค 80 ข้อ ข้อสอบปลายภาค 60 ข้อ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าดัชนีความยาก/ง่ายของข้อสอบ ค่าอำนาจจำแนก (point-biserial correlation) ความเที่ยงตรงของคะแนนสอบ ความคงที่ภายใน (KR-20) ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ T-test ผลการวิจัยพบว่า การวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบในด้านค่าดัชนีความยาก/ง่ายของข้อสอบ ค่าอำนาจจำแนก ข้อสอบกลางภาคและข้อสอบปลายภาค ของสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชนและสาขาทันตสาธารณสุขสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน แต่ความเที่ยงตรงของคะแนนสอบ (internal consistency reliability) และค่าความคงที่ภายใน Kuder-Richardson Reliability Kuder-Richardson (KR-20) สอดคล้องกันเฉพาะข้อสอบปลายภาค คะแนนสอบทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติของนักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน มีค่าเฉลี่ยสูงกว่านักศึกษาสาขาทันตสาธารณสุข คะแนนสอบเฉลี่ยภาคปฏิบัติของสาขาวิชา สาธารณสุขชุมชน แตกต่างกับคะแนนสอบเฉลี่ยนักศึกษาสาขาทันตสาธารณสุข อย่างมีนัยสำคัญมี่ 0.05
|
|
คำสำคัญภาษาไทย |
คำสำคัญ: ข้อสอบ คุณภาพข้อสอบ วิชาวิทยาการระบาด สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน สาขาทันตสาธารณสุข |
Abstract |
Abstract
The objective of this research is to find the quality of the epidemiology test and compare exam scores in the Bachelor of Public Health Program between 42 students of Community Public Health Program and 49 Dental Public Health Program. The samples were 91 in the academic year 2562. Data were collected by using 80 items of Mid-term test and 60 items of final test. The Data were analyzed by using difficulty/easiness index, point-biserial correlation, internal consistency reliability, internal consistency reliability, mean, standard deviation and t-test. The results showed that Exam quality analysis on the difficulty / easy index of the test classification power Midterm exam and Final exam of the Community Health and Dental Public Health programs in the same direction. Internal consistency reliability and Kuder-Richardson Reliability (KR-20) corresponds only to final exams. Test scores in both theory and practice of students in the Community Health Program Have a higher average than students in the dental public health program. The average practice scores for the Community Public Health program students different from the average practice scores for dental health Public Health program students Significant at 0.05
|
Keyword |
Keword: Test, quality of test, Epidemiology, Community Public Health Program, dental health Public Health program |
กลุ่มของบทความ |
วิจัยการศึกษาและงานประจำสู่งานวิจัย (R to R) |
รูปแบบการนำเสนอ |
Poster |
รูปแบบของบทความ |
บทความวิจัย |
Publication date |
9 - 10 กรกฎาคม 2563 |
|