บทความงานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 12 (มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม) ระหว่างวันที่ 9 – 10 กรกฎาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ชื่อบทความภาษาไทย |
การวิเคราะห์วาทกรรมเชิงวิพาก์ในสุนทรพนจ์ทางการเมือง |
ชื่อบทความภาษาอังกฤษ (Title) |
A Critical Discourse Analysis of the Political Speeches |
ชื่อผู้เขียนบทความ (Authors) |
นางสาวลลนา ปฐมชัยวัฒน์ , |
บทคัดย่อภาษาไทย |
การวิเคราะห์วาทกรรมทางการเมือง หรือ PDA มีบทบาทสำคัญคือ การดึงดูดความสนใจและเร้าใจผู้ฟัง วาทกรรมการเมืองยังมีเนื้อหาทางภาษาที่สร้างขึ้นเพื่อบ่งบอกข้อมูลในวาระโอกาสต่างๆ อย่างมีจุดหมาย แต่ทว่าการวิเคราะห์วาทกรรมการเมืองยังมิใช่หนทางเดียวในการทำความเข้าใจภาษาการเมืองได้อย่างถ่องแท้
ในการวิจัยนี้ มีจุดประสงค์ เพื่อการสำรวจสุนทรพจน์ทางการเมืองของประเทศสหรัฐอเมริกาที่กล่าวไว้โดยนักพูดในประวัติศาสตร์ ความมุ่งหวังของงานวิจัยคือ เพื่อการวิเคราะห์บทสุนทรพจน์ของมาร์ติน ลูเทอร์คิง และบทสุนทรพจน์ของประธานาธิบดีแห่งประเทศสหรัฐอเมริกาโอรักโอบาม่า คำถามของงานวิจัยคือ 1) ลักษณะทางภาษาที่ปรากฏได้ชัดจากวาทกรรมทางการเมืองนี้คืออะไร และ 2) อำนาจในบริบทใดที่สะท้อนได้จากการวิเคราะห์วาทกรรมทางการเมืองของประเทศสหรัฐอเมริกา ผลการวิจัยที่บรรยายไว้แสดงให้เห็นถึงลักษณะของวาทกรรมที่เหมือนกันและแตกต่างกันผ่านองค์ประกอบการวิเคราะห์ทางภาษาศาสตร์สามรูปแบบ คือ 1) การเชื่อมโยงความ (cohesion) 2) วัจนปฏิบัติศาสตร์ (pragmatic) 1) อำนาจ (power)
วิธีการวิเคราะห์ภาษาของเนื้อหาต่างๆ ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นประโยชน์ต่อ องค์ประกอบสำคัญทางภาษาที่ได้ถูกนำมาใช้เพื่อการตีความและอธิบายเนื่อหาต่างๆ อย่างเป็นระบบ กล่าวได้ว่า การวิเคราะห์วาทกรรมเชิงวิพากษ์ แสดงให้เห็นถึงมิติทางภาษาการเมืองที่ได้อย่างหลากหลาย
|
|
คำสำคัญภาษาไทย |
การวิเคราะห์วาทกรรมเชิงวิพากษ์, สุนทรพจน์ทางการเมือง, การวิเคราะห์วาทกรรมทางการเมือง |
Abstract |
“Political Discourse Analysis” or “PDA” plays crucial roles aiming to embrace audience’s attention and motivation. By means of political discourse, the constructed contexts revealed the current information of matters purposively however the PDA isn’t the merely methods of how to comprehend political language being communicated.
This study aims to explore the US political speeches by two historical orators. The aim of the report is to analyze the selected political speeches by Martin Luther King, and the president of the USA, Barack Obama. The research questions are: 1) what are lexical features emerged from PDA and 2) What kinds of powers are reflected from the US political discourses. The result of the descriptive analysis divulges the similarity and diversity of the linguistic elements proposed through the three linguistic aspects: 1] cohesion, 2] pragmatic, and 3] power.
The important textual examination in theses selected works is benefit for the variety of crucial linguistic elements interpreted and explained systematically. It is said that CDA directly proclaims various dimensions of political discourse.
|
Keyword |
CDA, political speech, and political discourse analysis |
กลุ่มของบทความ |
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
รูปแบบการนำเสนอ |
Oral |
รูปแบบของบทความ |
บทความวิจัย |
Publication date |
9 - 10 กรกฎาคม 2563 |
|