บทความงานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 12 (มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม) ระหว่างวันที่ 9 – 10 กรกฎาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ชื่อบทความภาษาไทย |
แนวทางการอนุรักษ์หญาดฮะเหริ่มโต๊ะของกลุ่มชาติพันธุ์มอญ ตําบลคลองจินดา จังหวัดนครปฐม |
ชื่อบทความภาษาอังกฤษ (Title) |
- |
ชื่อผู้เขียนบทความ (Authors) |
นายนายณพงศ์ บุญปาสาณ, นายวุทธิพัฒน์ ธนธรรมพานนท์ , นางสาวณัชชา ศรีภุมมา, นางสาวนิภาพรรณ นิโครธา, นางสาวพิมพร ชูชาติ, |
บทคัดย่อภาษาไทย |
บทความนี้นำเสนอคำแนะนำแนวทางการอนุรักษ์หญาดยะเหริ่มโต๊ะของกลุ่มชาติพันธุ์มอญ ตำบลคลองจินดา จังหวัดนครปฐมผู้วิจัย นายณพงศ์บุญปาสาณ, นายวุทธิพัฒน์ธนธรรมพานนท์, นางสาวณัชชาศรีภุมมา, นางสาวนิภาพรรณนิโครธาและนางสาวพิมพรชูชาติอาจารย์ที่ปรึกษาผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนาแซ่อึ้ง สาขาวิชาสังคมศึกษาปีการศึกษา2563 บทคัดย่อการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาแนวทางการอนุรักษ์หญาดฮะเหริ่มโต๊ะของกลุ่มชาติพันธุ์มอญตำบลคลองจินดาจังหวัดนครปฐมโดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกวิเคราะห์ข้อมูลโดยแบ่งตามประเด็นวัตถุปะสงค์ที่กำหนดไว้และนำเสนอด้วยวิธีพรรณนาวิเคราะห์ซึ่งมีผู้ให้ข้อมูลเป็นปราชญ์ชาวบ้านในพื้นที่ที่มีความรู้ความสามารถในเรื่องของหญาดฮะเหริ่มโต๊ะผลการวิจัยพบว่าแนวทางการอนุรักษ์หญาดฮะเหริ่มโต๊ะของกลุ่มชาติพันธุ์มอญตำบลคลองจินดาจังหวัดนครปฐมเกิดขึ้นจากการปลูกจิตสำนึกและถ่ายทอดวิชาความรู้เกี่ยวกับการผลิตผ้าสไบมอญภายในครอบครัวและกลุ่มชุมชนอย่างที่ได้เห็นในข้อมูลผลการวิเคราะห์ว่าการผลิตผ้าสไบมอญได้มีการขยายจากหน่วยย่อยจากหน่วยครอบครัวเป็นการรวมกลุ่มของชนชาติพันธุ์มอญเพื่อรวบรวมชาวบ้านปลูกฝังจิตสำนึกให้กับคนรุ่นใหม่ถ่ายทอดกระบวนการผลิตผ้าสไบมอญให้กับชาวบ้านให้มีการผลิตผ้าสไบมอญไว้ใช้เองเนื่องจากผ้าสไบมอญมีราคาค่อนข้างแพงและทำได้ยากผู้ถ่ายทอดหรือปราชญ์ชาวบ้านได้ให้สัมภาษณ์ว่าเยาวชนหรือคนรุ่นใหม่มีความสนใจในการอนุรักษ์สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นผ้าสไบมอญน้อยลงเนื่องจากการทำผ้าสไบมอญต้องอาศัยความชำนาญประณีตและกินระยะเวลายาวนานเด็กรุ่นใหม่หันไปใส่ใจในนวัตกรรมเทคโนโลยีใหม่ที่สามารถช่วยสร้างรายได้โดยง่ายและรวดเร็วกว่าเนื่องจากปัจจัยจูงใจนี้ทำให้เยาวชนรุ่นใหม่ไม่สนใจและละเลยภูมิปัญญาผ้าสไบมอญไปบ้างอย่างไรก็ตามเนื่องจากชาวบ้านตำบลคลองจินดาได้มีการสร้างกลุ่มอนุรักษ์การทำผ้าสไบมอญขึ้นจึงมีการส่งเสริมการทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อเสริมสร้างและอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้แก่คนในชุมชนโดยเฉพาะเด็กหรือเยาวชนรุ่นใหม่และนอกจากนี้ชาวบ้านตำบลบ้านคลองจินดาได้มีการจัดตั้งศูนย์ให้ความรู้และแสดงนิทรรศการเพื่อเป็นแบบอย่างแสดงให้เห็นถึงความภาคภูมิใจของชาวบ้านท้องถิ่นและเพื่อสืบสานอนุรักษ์และเตือนใจเยาวชนในพื้นที่ให้มีจิตใต้สำนึกในการรักและหวงแหนเห็นคุณค่าและภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นอีกด้วยไม่เพียงแต่ชาวบ้านตำบลคลองจินดาเท่านั้นที่ต้องการอนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นผ้าสไบมอญแต่ยังมีอีกหลายพื้นที่ที่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์มอญยังคงมีการสืบสานและอนุรักษ์การทำผ้าสไบมอญให้คงอยู่สู่คนรุ่นหลังต่อไป
|
|
คำสำคัญภาษาไทย |
หญาดเหริ่มโต๊ะ ,อัตลักษณ์ ,กลุ่มชาติพันธุ์ |
Abstract |
Research Title Yaya Yoh Tho To Conservation of Mon Ethnic Groups, Khlong Chinda Subdistrict, Nakhon Pathom Province Researcher Mr. Naphong Bunpasan, Mr. Wuttiphat Thanathampanon, Ms Nutcha Sripoomama, Miss Niphaphan Nikortha and Miss Pimporn Chuchat, advisor, assistant professor, Dr. Pratthan Sae Ung, Social Studies Program, Academic Year 2020. ABSTRACT The objective of this research is to study the conservation guidelines of the Harametoh Mon Mon ethnic group, Khlong Chinda Subdistrict, Nakhon Pathom Province by using qualitative research. In-depth, analyze data by categorizing objectives and present them with descriptive analysis methods, in which data providers are given The royal villagers in the area who have knowledge and ability in the area of Hadet Haem Toet. The result of the research shows that the conservation of the Hayet Table of Mon ethnic groups in Khlong Chinda Subdistrict, Nakhon Pathom Province arose from Raising awareness and transferring knowledge about the production of shawl in the family and community groups, as seen in the data analysis results that shawl shawl has expanded from Sub-units from the family unit are a group of Mon ethnic group in order to gather villagers, cultivate consciousness for the new generation, transfer the process of shawl to the villagers to produce shawl for their own use since the shawl is quite expensive. Expensive and difficult to convey. The villagers or sages have interviewed that young people or young people are interested in preserving local wisdom. Broommon fabric is less because making broommon fabric requires expertise and delicacy for a long time. The new generation of children turn to pay attention to new technological innovations that can help make money faster and easier due to this incentive factor. Causing the young generation to ignore and neglect the wisdom of shabby monk to some extent, however, because the villagers of Khlong Chinda Subdistrict have established a group to preserve shabby cloth making Mon has therefore promoted joint activities to strengthen and preserve local knowledge for people in the community, especially young people or young people. In addition, the villagers of Ban Khlong Chinda have established a knowledge and display center. An exhibition to illustrate the pride of local villagers and to preserve, preserve and remind the local youth to have a subconscious mind. Thinking of love and cherishing value and pride in local knowledge as well. Not only the people of Khlong Chinda Subdistrict want to preserve and inherit local wisdom, Sabin Mon cloth, but there are still many areas that belong to the Mon ethnic group still. There will be a continuation and preservation of the shawl cloth to remain for the next generations.
|
Keyword |
Hyad he rim toa, Identity,Ethnic |
กลุ่มของบทความ |
ปรัชญา ศาสนา และศิลปวัฒนธรรม |
รูปแบบการนำเสนอ |
Oral |
รูปแบบของบทความ |
บทความวิจัย |
Publication date |
9 - 10 กรกฎาคม 2563 |
|